Considerations To Know About สงครามในพม่า

สำรวจ “ระเบียงมนุษยธรรม” ชายแดนไทย-เมียนมา ท่ามกลางการประท้วง

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่นี่ยินยอมนโยบายความเป็นส่วนตัว

“ก็ยังมีการปฏิบัติการโจมตีของฝ่ายทหารของพม่าอยู่อย่างต่อเนื่อง เพราะว่าตอนนี้ ทหารพม่าเขาไม่ได้โจมตีในทางบกแล้ว แต่จะใช้เครื่องบินเป็นหลัก ก็เลยทำให้หลายพื้นที่ที่อยู่ข้างในถูกโจมตี แต่หนักสุดก็คือจะเป็นโซนพื้นที่สาละวินนี่แหละ ซึ่งการที่ทหารพม่าใช้เครื่องบินรบ ทำให้ชาวบ้านต้องอพยพ หลายหมู่บ้านตอนนี้กลายเป็นหมู่บ้านร้าง เนื่องจากชาวบ้านต้องหลบซ่อนอยู่ตามป่า เด็กนักเรียนก็ไม่ได้ไปเรียนตามปกติ ชาวบ้านจะกลับมานอนมาพักอาศัยอยู่ในบ้านเรือนของตัวเองก็ทำไม่ได้ เพราะว่าทหารพม่ามันโจมตีโดยไม่ได้บอกกล่าว และโจมตีไม่เลือกหน้า ไม่ว่าจะเป็นสถานที่เป็นโบสถ์ วัด โรงเรียน บ้านเรือนพลเรือน มันก็โจมตีหมด ทำให้ชาวบ้านไม่กล้าอยู่ในบ้านต้องหนีออกไปนอนอยู่ตามห้วยตามป่า ซึ่ง ณ ตอนนี้ ยังมีชาวบ้านที่หลบซ่อนตัวอยู่ตามป่า จำนวนเยอะมาก ที่อพยพมาตามแนวชายแดนก็อีกส่วนหนึ่งที่ยังค้างอยู่อีกหลายจุด อย่างเช่น ศูนย์อพยพบ้านเสาหิน ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ชาวกะเหรี่ยง ในรัฐคะเรนนี อพยพมาหนีภัยสงคราม แล้วก็อยู่แถวฟากตรงข้ามของพื้นที่ อ.

ชีวิตข้างกองพิษ “ความไม่ยุติธรรม” ของคนตาก จากเหมืองแม่ตาวถึงกากแคดเมียม

ใครที่เคยคิดว่าอย่างไรเสียกองทัพพม่าก็ยังมีแสนยานุภาพทางทหารสูงกว่าฝ่ายต่อต้านทุกกลุ่มรวมกันก็อาจจะต้องประเมินสถานการณ์ใหม่

ประชาไท / สงครรามพม่า บทความ / การเมือง / สิทธิมนุษยชน / ต่างประเทศ

คำบรรยายภาพ, จาก อ.แม่สอด จ.ตาก มองเห็นเปลวเพลิงและควันพวยพุ่งขึ้นมาจากฝั่งเมียวดี หลังกองทัพเมียนมาโจมตีทางอากาศในพื้นที่ของเคเอ็นยู

ทางฝ่ายทหารไทย ฝ่ายปกครอง เข้าไปกำกับดูแล รวมทั้งเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลแม่กุ และอสม.

อ่านเกี่ยวกับแนวทางของเราในการติดต่อกับลิงก์ภายนอก

ความเดือดร้อนของชาวบ้านที่ต้องหนีภัยสงครามครั้งนี้ นอกจากสิ่งที่เห็นจากภาพว่าต้องมาอยู่อาศัยและใช้ชีวิตอย่างยากลำบากแล้ว ยังพบว่ากลุ่มผู้เปราะบางอย่างผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวก็ไม่ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

“แต่ในระยะยาว ผมคิดว่า รัฐบาลไทยควรจะหยุดให้ความร่วมมือกับกับรัฐบาลพม่าไปก่อน เพราะตอนนี้คือรัฐบาลพม่าเองก็ไม่ใช่เป็นรัฐบาลที่ได้รับการยอมรับจากสังคมโลก  แต่การที่รัฐไทยไปให้ความร่วมมือรัฐบาลพม่าทางอ้อม อย่างเช่น การร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลพม่า ซึ่งอาจเป็นความร่วมมือในเรื่องของการทหาร หรือเรื่องเศรษฐกิจ ซึ่งที่จริงมันเป็นการใช้ความสัมพันธ์นี้เป็นเครื่องมือเพื่อส่งเสริมให้ทหารพม่าพวกนี้เข้ามาควบคุมพื้นที่ เพื่อที่จะปราบปรามชาวบ้านมากกว่า ซึ่งตรงนี้ เราไม่เห็นด้วยเลย ดังนั้น รัฐบาลไทยเองก็ควรทบทวนและหยุดความร่วมมือกับรัฐบาลทหารพม่าไปสักระยะหนึ่ง เพื่อที่จะให้สถานการณ์นี้คลี่คลาย” 

     สภาบริหารแห่งรัฐ (กองทัพพม่าและพันธมิตร)

ตัวเลขในวงเล็บ หมายถึง ปีพุทธศักราช

การรบที่เมืองคัง เป็นผลมาจากการสวรรคตของพระเจ้าบุเรงนอง พระมหากษัตริย์พม่า ทำให้เจ้าประเทศราชไทยใหญ่กระด้างกระเดื่องต่อพม่า พม่าต้องการปราบปรามเพื่อไม่ให้เป็นตัวอย่างแก่ประเทศราชอื่น ๆ พระเจ้านันทบุเรงทรงต้องการให้มีการแข่งขันในการรบ จึงทรงจัดให้เจ้านายพม่าและสมเด็จพระนเรศวรเข้าตีเมืองคังคนละวัน เจ้านายพม่าทั้งสองไม่สามารถเข้าตีเมืองได้ จนถึงวันที่สาม สมเด็จพระนเรศวรทรงใช้เส้นทางลับเข้าตีเมืองจนสำเร็จ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

Comments on “Considerations To Know About สงครามในพม่า”

Leave a Reply

Gravatar